น้อมรำลึก วันอานันทมหิดล ตรงกับวันที่ 9 มิถุนายนของทุกปี

         วันอานันทมหิดล ตรงกับวันที่ 9 มิถุนายนของทุกปี ซึ่งเป็นวันที่มีความสำคัญเป็นวันคล้ายวันเสด็จสวรรคตของ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร รัชกาลที่๘ โดยพระองค์ทรงเป็นพระผู้พระราชทานกำเนิดคณะแพทยศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งตรงกับวันที่ 9 มิถุนายน คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จึงได้ดำริที่จะจัดงาน วันอานันทมหิดลขึ้นเป็นประจำทุกปี ด้วยสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณของพระองค์ท่าน ซึ่งได้สร้างคุณูปการต่อวงการ

พระสุพรรณกัลยา

พระสุพรรณกัลยามาในมุมมองของนักประวัติศาสตร์พม่า

พระสุพรรณกัลยามาในมุมมองของนักประวัติศาสตร์พม่า                 เมื่อปี ๒๕๕๑ ทีมงานเพจเรารักสมเด็จพระนเรศวร มีโอกาสได้ไปร่วมงานเสวนาเรื่อง **โกษาปานกับราชสำนักพม่า** ณ มิวเซียมสยาม ในงานนี้ได้พบกับ มิกกี้ ฮาร์ท (Myin Hsan Heart) สถาปนิกชาวพม่า ผู้สนใจศึกษาประวัติศาสตร์พม่า และไทยได้แปลเอกสารหลักฐานของพม่าที่กล่าวถึงพระสุพรรณกัลยาใน ̏ โยเดียกับราชวงศ์พม่า: เรื่องจริงที่ไม่มีใครรู้ ̋ โดยได้กล่าวถึงชีวิตในกรุงหงสาวดีของพระสุพรรณกัลยาไว้ได้อย่างน่าสนใจว่า

ช้างทรง

ช้างสำคัญในการทำศึกยุทธหัตถี

  ในการศึกยุทธหัตถี..ช้างทรงสำคัญยิ่ง พงศาวดารบางฉบับกล่าวว่า ช้างทรงของสมเด็จพระนเรศวรฟังภาษาคนออก และก่อนจะออกศึกทุกครั้งสมเด็จพระนเรศวรจะตรัสกับช้าง แม้กระทั่งตอนนประลองยุทธหัตถี ช้างทรงของสมเด็จพระนเรศวรซึ่งตัวเล็กกว่าตื่นตระหนกทำท่าจะถอยหลังหนี ขณะช้างศึกของพระมหาอุปราชาวิ่งเข้าใส่พระองค์ก็ตรัสกับช้างทรงของพระองค์ว่า”เจ้าสามารถนำชัยชนะมาให้แก่ข้าได้ ประชาชนที่น่าสงสารของเราจะพ่ายแพ้ยับเยินเพียงใดถ้าหากเจ้าหนีจากสนามรบ แต่ถ้าหากเรายืนหยัดอยู่อย่าง

สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ

สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ

สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ พระนามเดิมคือ พระเฑียรราชา เป็นพระอนุชาในสมเด็จพระไชยราชาธิราช มีบุคลิกภาพอ่อนโยน จิตใจมีเมตตา ไม่ชอบหักล้างแข็งกร้าว ใฝ่ธรรมะ รักสันโดษ พระองค์ทรงเป็นที่เลื่องลือ ไปทั่วว่ามีพระบุญญาภินิหารยิ่งนัก เนื่องด้วยมี “ช้างเผือก”มาสู่คู่พระบารมีถึง ๗ เชือก มีพระมเหสีคือสมเด็จพระสุริโยทัย เหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์คือ ครั้งที่พระองค์ทรงชนช้างกับพระเจ้า

พระเทพกษัตรี

พระเทพกษัตรีคือใคร ?

  พระเทพกษัตรี พระราชธิดาองค์เล็กในสมเด็จพระมหาจักรพรรดิและสมเด็จพระสุริโยทัย ทรงมีศักดิ์เป็นพระเจ้าน้าของสมเด็จพระนเรศวร ถูกพระเจ้าบุเรงนองดักชิงตัวระหว่างทางเสด็จไปดำรงตำแหน่งอัครมเหสีพระไชยเชษฐาแห่งอาณาจักรล้านช้าง ประวัติศาสตร์ภายหลังจากที่ถูกนำตัวมาอยู่หงสาวดีบันทึกไว้ต่างกัน บ้างก็ว่าพระองค์ทรงปลงพระชนม์ชีพตนเอง ส่วนพงศาวดารพม่าบันทึก

ความสำคัญของพุทธชินราช ในสมัยกรุงศรีอยุธยา

สวัสดีค่ะ..วันนี้เราจะขอพาเพื่อนๆย้อนไปสู่สมัยกรุงศรีอยุธยาโดยเรามาย้อนถึง ความสำคัญของพุทธชินราช ในสมัยกรุงศรีอยุธยากันค่ะ. สมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑ (พระเจ้าอู่ทอง) ช่วง พ.ศ. ๑๘๙๓-๑๙๐๕ เข้ายึดเมืองพิษณุโลก ผนวกเข้ากับกรุงศรีอยุธยา สมเด็จพระราเมศวร “เมื่อจุลศักราช ๗๔๖ (พ.ศ.๑๙๒๗) ปีวอก ฉศก สมเด็จพระรา เมศวรแห่งราชวงศ์อู่ทอง เสด็จขึ้นไปตีเมืองเชียงใหม่ เสด็จกลับลงมาถึงเมือง

ความสำคัญของพุทธชินราช ในสมัยกรุงสุโขทัย

สวัสดีค่ะ..วันนี้เราจะขอพาเพื่อนๆย้อนไปสู่สมัยกรุงสุโขทัยโดยเรามาย้อนถึง ความสำคัญของพุทธชินราช ในสมัยกรุงสุโขทัย ๑. สมเด็จพระมหาธรรมราชาลิไท ครองกรุงสุโขทัยเป็นรัชกาลที่ ๕ ในราชวงศ์พระร่วง ได้ทรงสร้างเมืองพิษณุโลก สร้างวัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหาร และทรงหล่อพระพุทธชินราช พระพุทธชินสีห์ และ พระศรีศาสดา ในปีพุทธศักราช ๑๙๐๐ ทรงเสด็จมาประทับอยู่ ณ เมืองสองแควในช่วงเวลาหนึ่ง

พระพุทธชินราชในรัชสมัยของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช

สมเด็จพระนเรศวรมหาราช จุลศักราช ๙๔๓ (พ.ศ. ๒๑๒๔) สมเด็จพระนเรศวรบรมนาถเจ้า เสด็จขึ้นไปช่วยราชการสงครามเมืองหงสาวดี มีชัยชนะเสด็จกลับมายังเมืองพิษณุโลก ก็ทรงเปลื้องเครื่องทรงออกบูชาพระพุทธชินราช พระพุทธชินสีห์ และสมโภชมหรสพ ๓ วัน

สมเด็จพระเอกาทศรถ

สมเด็จพระเอกาทศรถทรงนมัสการพระพุทธชินราช

สมเด็จพระเอกาทศรถทรงเลื่อมใสในพระพุทธศาสนา  เมื่อครั้ง จุลศักราช ๙๕๓ (พ.ศ. ๒๑๓๔)ปีเถาะ ตรีศก ทัพหลวงเสด็จอยู่ในเมืองเพชรบุรี สมเด็จพระเอกาทศรถ เสด็จขึ้นไปประพาสโดยทางชลมารค เสด็จถึงเมืองพระพิษณุโลกตั้งตำหนักในตำบล วัดจันทร์ ฝ่ายพระคชาธารสารสินธพราชพาหนะ และช้างต้นม้าต้นทั้งปวง นั้น ทรงพระกรุณาตรัสให้ไปโดยทางสถลมารครับทัพหลวงในเมืองพระพิษณุโลก สมเด็จพระเอกาทศรถเสด็จไปนมัสการพระพุทธชินราชในวัดพระศรีรัตนมหาธาตุ ในเมืองพระพิษณุโลก…

พระพุทธชัยมงคล

พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ ในจ.อยุธยา

       พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ที่ไม่ควรพลาดไปกราบขอพร  ทุกครั้งที่เพื่อนๆไปเที่ยว จ.อยุธยา เพื่อนหลายคนมีโอกาสได้ไปเยื่อนเยือน จ.พระนครศรีอยุธยา ต้องได้มีโอกาสแวะไปที่ วัดใหญ่ชัยมงคล หรือเดิมชื่อ “วัดป่าแก้ว” หรือ “วัดเจ้าไท” ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของเกาะพระนคร ปัจจุบันเป็นพื้นที่ตำบลคลองสวนพลู อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จุดเด่นของวัดนี้ได้แก่เจดีย์องค์ใหญ่ที่เชื่อกันว่า ได้รับการปฏิสังขรณ์ขึ้นใหม่ในสมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ที่ภายในได้มีการค้นพบชัยมงคลคาถาบรรจุอยู่  ภายในพระอุโบสถ เป็นที่